ติดต่อฝ่ายขาย @Line ID : BBKBWC หรือ BBKSKE  โทร 088-277-2500 หรือ 086-466-5134 ค่ะ

Download Catalog

รายละเอียดสายอื่นๆ เช่น เสปกสาย YAZAKI ดาวโหลดได้ที่ หน้า

สั่งซื้อสายไฟฟ้า ติดต่อ 088-277-2500 , 092-445-1489 , 065-541-9886

หรือแอดไลน์ : @bbk1991 หรือถ้ามีรายการใช้ท่อหรือสายไฟฟ้า ส่งเข้ามาเช็คได้ที่ bbkbwc@yahoo.com

สายไฟฟ้า ในประเทศไทยได้ถูกแบ่งชนิด ประภทออกตามแต่ลักษณะการใช้งานที่เหมาะสมกับกระแสไฟฟ้า ที่จะใช้ โดยพิจารณาถึงความปลอดภัยและกำลังส่งเป็นสำคัญ เพราะสายไฟฟ้า อาจมีความร้อนสูงเมื่อมีกระแสไฟไหลผ่านเกินขีดจำกัด และก่อให้เกิดอัคคีภัยได้

สายไฟฟ้าแบ่งตามกลุ่มชนิดสายได้ดังนี้

  1. สายไฟตามมาตรฐาน มอก. 11-2553
  2. สายทองเคเบิ้ลแดง
  3. สายเคเบิ้ลอลูมิเนียม
  4. สายไฟทนไฟ และความร้อน
  5. สายสำหรับอุปกรณ์อิเลคโทรนิค
  6. สายสำหรับใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
  7. สายสื่อสาร สายโทรศัพท์

แบ่งตามแรงดันได้ดังนี้

1. สายไฟฟ้าแรงดันต่ำ (Low Voltage Cable : LV)
2. สายไฟฟ้าแรงดันปานกลาง (Medium Voltage Cable : MV)
3. สายไฟฟ้าแรงดันสูง (High Voltage Cable : HV)

ประกาาศ ราคาทองแดง

ราคามีการปรับตัวขึ้นสูงอย่างรวดเร็วทุกสัปดาห์ ในปัจจุบัน โครงการต่างๆควรติดตามราคาทองแดงอย่างสม่ำเสมอ เพราะมีผลต่อราคา สายไฟชนิดต่างๆ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของราคาสายไฟอยู่ตลอดเวลา 

คำแนะนำ ในภาวะปัจจุบัน หากมีแผนจะต้องใช้สายไฟฟ้า อยู่แล้ว ให้รีบทำการสั่งซื้อและเก็บสต๊อคสายไฟสำหรับโครงการต่าง ทันที

สำหรับผู้ที่มีแผนการใช้งานสายไฟฟ้า ให้พิจารณาเผื่อการปรับตัวของราคาของสายไฟฟ้า จะสูงขึ้นอีก 10-20% ในอนาคต

ณ เดือน มีนาคา ราคามีแนวโน้มทรงตัว

พิกัดแรงดันของสายไฟ (Rated voltage of cable)

  •  Low Voltage Cable : < 1 kV
    300/500 V
    450/750 V
    600/1000 V
    0.6/1 kV

 

  • Medium Voltage Cable : 1-36 kV
    1.8/3(3.6) kV
    3.6/6(7.2) kV
    6/10(12) kV
    8.7/15(17.5) kV
    12/20(24) kV
    18/30(36) kV 

 

  • High Voltage Cable : > 36 kV
    36/69(72.5) kV
    64/115(123) kV

ตัวนำไฟฟ้า (Conductor)

ตัวนำของสายไฟฟ้าทำมาจากโลหะที่มีความนาไฟฟ้าสูง อาจอยูในรูปของตัวนำเดี่ยว(Solid) หรือตัวนำตีเกลียว(Strand) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวนำเล็กๆ ตีเข้าด้วยกันเป็นเกลียวซึ่งมีข้อดี คือการเดินสายทำได้ง่ายเพราะมีความอ่อนตัวกว่า

โลหะที่นิยมใช้เป็นตัวนำ ได้แก่ ทองแดง และอลูมิเนียม

 

  • ทองแดง เป็นโลหะที่มีความนำไฟฟ้าสูงมาก มีความแข็งแรง เหนียว ทนต่อการกัดกร่อนได้ดี แต่มีข้อเสีย คือ มีน้ำหนักมาก และราคาสูง จึงไม่เหมาะสำหรับงานด้าน
    แรงดันสูง แต่จะเหมาะกับการใช้งานโดยทั่วไป โดยเฉพาะงานในอาคาร
  • อลูมิเนียม เป็นโลหะมีความนำไฟฟ้าสูงรองจากทองแดง แต่เมื่อเปรียบเทียบในกรณีกระแสเท่ากันแล้ว พบว่าอลูมิเนียมจะมีน้ำหนักเบาและราคาถูกกว่า จึงเหมาะกับงานเดินสายไฟนอกอาคาร และแรงดันสูง

ฉนวน (Insulation)
ฉนวน ทำหน้าที่ห่อหุ้มตัวนำ เพื่อป้องกันการสัมผัสกันโดยตรงระหว่างตัวนำหรือระหว่างตัวนำกับส่วนที่ต่อลงดิน และป้องกันตัวนำจากผลกระทบทางกลทางเคมีต่าง ๆการเลือกใช้ชนิดของฉนวนจะขึ้นกับอุณหภูมิใช้งาน ระดับแรงดันของระบบ และสภาพแวดล้อมในการติดตั้ง

เปลือก (Sheath or Jacket)
เปลือก หมายถึง ทำหน้าที่เป็นฉนวนและป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะการติดตั้งหรือใช้งานของสายไฟ หากมี 2 ชั้น เรียกว่าเปลือกใน (inner sheath)และเปลือกนอก (outer sheath) เปลือกมีหลายชนิด วัสดุที่นิยมใช้ทำ คือ 1 พีวีซี (PVC) 2 พีอี (PE) 3 Low smoke halogen free (LSHF) โดยคุณสมบัติแล้วพีอี จะมีความแข็งแรง และทนต่อการขูดขีด ได้มากกวา พีวีซี

ส่วนประกอบอื่น ๆ
• เกราะ (Armour) คือ เส้นลวดหรือเทปโลหะที่พันรอบสายไฟก่อนที่จะหุ้มเปลือนอกเพื่อเพิ่มความแข็งแรง ป้องกันแรงกระทำทางกลให้กับสายไฟโดยใช้ลวดเหล็ก, ลวดอลูมิเนียม หรือ เทปเหล็ก
• ชีลด์(Shield)หรือ สกรีน (Screen) หมายถึงส่วนที่มีหน้าที่ป้องกันสายไฟแบ่งเป็น 3 ประเภท

1 สกรีนตัวนำ (Conductor Screen) เป็นวัสดุกึ่งตัวนำหุ้มอยู่บนตัวนำทำหน้าที่่กระจายสนามไฟฟ้าไม่ให้หนาแน่น ณ จุดใดจุดหนึ่ง และยังทำหน้าที่ลดช่องวางระหว่างตัวนำกับฉนวนอีกด้วย
2 สกรีนฉนวน (Insulation Screen) เป็นวัสดุกึ่งตัวนำที่หุ้มอยู่บนฉนวนทำหน้าที่คล้ายชีลด์ตัวนำและลดการเกิด discharge ที่ผิวฉนวน
3 สกรีนโลหะ (Metallic Screen) อาจเป็นลวด หรือ เทปโลหะที่ทำจากทองแดงใช้พันบนสายไฟเพื่อจำกัดสนามไฟฟ้าให้อยู่เฉพาะภายในสายเคเบิ้ล ปล่อยกระแส discharge ต่าง ๆ ลงดิน และยังทำหน้าที่ปรับระดับ
ความต่างศักย์ของสกรีนฉนวนให้เท่ากับดินอีกด้วย

ประเภทสายไฟฟ้าตามมาตรฐาน มอก. และIEC

1. สายตัวนำเปลือย (Bare Conductor)
2. สายไฟฟ้าแรงดันต่ำ (Low Voltage Power Cables)
3. สายไฟฟ้าแรงดันปานกลาง (Medium Voltage Power Cables)
4. สายไฟฟ้ าแรงดันสูง (High Voltage Power Cables)
5. สายควบคุม (Control Cables)
6. สายอ่อน (Flexible Cables)
7. สายที่มีคุณสมบัติพิเศษ (Special Cables)
   – สายหน่วงไฟ (Flame Retardant Cables)
   – สายทนไฟ (Fire Resistant Cables)
   – สายป้องกันสัตว์กัดแทะ (Vermin Proof Cables)

มาตรฐานของสายไฟ (Standards of cable)

TIS 11-2553 : สายไฟฟ้าทองแดง ห้มฉนวน ุ PVC แรงดันไม่เกิน 450/750 V
(ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา 2 พ.ย.55 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 ก.ค.56 เป็ นต้นไป )

TIS 838-2531 : สายไฟฟ้าส าหรับวงจรควบคุม แรงดัน 600 V

IEC 60502-1 : สายไฟฟ้ าแรงดันสูงห้มด้วยฉนวน สำหรับแรงดัน ุ 0.6/1, 1.8/3(3.6) kV
(TIS 2143-2546)

IEC 60502-2 : สายไฟฟ้าแรงดันสูงหุ้มด้วยฉนวน สำหรับแรงดัน ุ 3.6/6(7.2) – 18/30(36) kV
(TIS 2143-2546)

IEC 60840 : สายไฟฟ้าแรงดันสูงหุ้มด้วยฉนวน สำหรับแรงดัน ุ 69, 115 kV
(TIS 2202-2547)

อื่นๆ เช่น BS, ICEA, ASTM, JIS

ข้อกำหนดการใช้งานของสายไฟฟ้าตัวนำทองแดง หุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก. 11-2553

1. การใช้งานทั่วไป
ชนิดสาย : IEC01, IEC02, IEC05, IEC06, IEC07, IEC08, IEC10, NYY, NYY-G

2. เดินในช่องเดินสายและต้องป้องกันน้ำเข้าช่องเดินสาย
ชนิดสาย : IEC01, IEC02, IEC05, IEC06, IEC07, IEC08, IEC10

3. ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
ชนิดสาย : NYY, NYY-G, VCT, VCT-G
***ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง***
ชนิดสาย : IEC01, IEC02, IEC05, IEC06, IEC07, IEC08, IEC10

4. วางบนรางเคเบิล
ชนิดสาย : IEC10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G

 

5. ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้
ชนิดสาย : IEC52, IEC53, IEC56, IEC57

6. เดินเกาะผนัง
ชนิดสาย : VAF, VAF-G

7. ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
ชนิดสาย : IEC53, IEC57, VCT, VCT-G

8. ใช้งานภายในเครื่องใช้ไฟฟ้า
ชนิดสาย : IEC52

9. ใช้งานภายในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ชนิดสาย : IEC41

มาตรฐาน มอก. TIS 11-2553

– 450/750 V 70°C 60227 IEC 01 (THW)
– 450/750 V 70°C 60227 IEC 02
– 300/500 V 70°C 60227 IEC 05 (IV)
– 300/500 V 70°C 60227 IEC 06 (VSF)
– 300/500 V 90°C 60227 IEC 07 (HIV)
– 300/500 V 90°C 60227 IEC 08 (HVSF)
– 300/500 V 70°C 60227 IEC 10
– 300/300 V 70°C 60227 IEC 43
– 300/300 V 70°C 60227 IEC 52 (VKF)
– 300/300 V 70°C 60227 IEC 52
– 300/500 V 70°C 60227 IEC 53 (VKF)
– 300/500 V 70°C 60227 IEC 53
– 300/300 V 90°C 60227 IEC 56 (HVKF)
– 300/300 V 90°C 60227 IEC 56
– 300/500 V 90°C 60227 IEC 57 (HVKF)
– 300/500 V 90°C 60227 IEC 57
– 300/500 V 70°C VAF
– 300/500 V 70°C VAF-G
– 450/750 V 70°C NYY
– 450/750 V 70°C NYY-G
– 450/750 V 70°C VCT
– 450/750 V 70°C VCT-G

TELECOMMUNICATION WIRES AND CABLES

– AP
– AP(8)
– AP-FSF
– PVC-PVC
– TPEV
– SWVP
– DW
– UTP-DW
– SW
– JW
– FR-JW

ชื่อสายไฟรหัสต่างๆที่จัดจำหน่าย

Copper Conductors

– 0.6/1 kV CV
– 0.6/1 kV CV-AWA
– 0.6/1 kV CV-SWA
– 0.6/1 kV NYY-SWA
– 0.6/1 kV NYCY
– 1.8/3(3.6) kV CV
– 1.8/3(3.6) kV CV-AWA
– 1.8/3(3.6) kV CV-SWA
– 3.6/6(7.2) kV CV
– 3.6/6(7.2) kV CV-AWA
– 3.6/6(7.2) kV CV-SWA
– 6/10(12) kV CV
– 6/10(12) kV CV-AWA
– 6/10(12) kV CV-SWA
– 8.7/15(17.5) kV CV
– 8.7/15(17.5) kV CV-AWA
– 8.7/15(17.5) kV CV-SWA
– 12/20(24) kV CV
– 12/20(24) kV CV-AWA
– 12/20(24) kV CV-SWA
– 18/30(36) kV CV
– 18/30(36) kV CV-AWA
– 18/30(36) kV CV-SWA
– 15 kV CV
– 25 kV CV
– 35 kV CV
– 69 kV CE
– 115 kV CE
– 600 V CVV
– 600 V CVV-S
– 600 V CVV-SWA
– BCW
– FHC

Aluminium Conductors

– NAY
– THW-A
– AWV
– 15 kV SAC
– 25 kV SAC
– 35 kV SAC
– AAC
– ACSR

 

Fire Safety Cable

– 600/1000 V FRC-XL-LSHF 1 core
– 0.6/1 kV FRC-XLPE/LSHF 1 core
– 0.6/1 kV FRC-XLPE/LSHF 2,3,4 cores
– 0.6/1 kV FRC-XLPE/SWA/LSHF 2,3,4 cores
– 0.6/1 kV FRC-XLPE/LSHF-S 2-30 cores
– 600/1000 V XL-LSHF 1 CORE
– 0.6/1 kV XLPE/LSHF 1 CORE
– 0.6/1 kV XLPE/LSHF 2,3,4 CORES
– 0.6/1 kV XLPE/SWA/LSHF 2,3,4 CORES
– 0.6/1 kV XLPE/LSHF-S 2-30 cores

ELECTRONIC WIRES AND CABLES

– UL 1007-LF
– UL 1015-LF
– UL 1032-LF
– UL 1061-LF
– UL 1095-LF
– UL 1569-LF
– UL 1571-LF
– UL 1865-LF
– UL 10272-LF
– UL 1617-LF UL
– UL 1618-LF UL
– UL 2464-SB-LF
– UL 2464-SB-LF
– VSF-LF
– HVSF-LF
– S-HVSF-LF
– NMI-HVSF-LF
– VFF-LF
– HVFF-LF
– VCTFK-LF
– HVCTFK-LF
– VCTF-LF
– HVCTF-LF
– IV-LF
– KIV-LF
– HKIV-LF
– Coaxial cable
– AV-LF
– AVS-LF
– AVSS-LF

สายไฟฟ้าตามมาตรฐาน มอก.11-2553 และ IEC 60502-1 by BCC